image

"นอนไม่หลับ" ทางการแพทย์แผนจีน 2

จากบทความที่แล้ว เราได้แบ่งโรคนอนไม่หลับแบบเป็น 3 ประเภท : 1. หัวใจและไตไม่สอดคล้องกัน 2. ม้ามและกระเพาะไม่สมดุล 3. เส้นลมปราณอินเฉียว และเส้นลมปราณหยางเฉียว สูญเสียความสามารถในการเปิด-ปิด บทความนี้จะอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาอาการนอนไม่หลับที่เกี่ยวข้องต่อไป

จากบทความที่แล้ว เราได้แบ่งโรคนอนไม่หลับแบบเป็น 3 ประเภท : 1. หัวใจและไตไม่สอดคล้องกัน 2. ม้ามและกระเพาะไม่สมดุล 3. เส้นลมปราณอินเฉียว และเส้นลมปราณหยางเฉียว สูญเสียความสามารถในการเปิด-ปิด บทความนี้จะอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาอาการนอนไม่หลับที่เกี่ยวข้องต่อไป



01 หัวใจและไตไม่สอดคล้องกัน (心肾不交)

จากการที่ไตน้ำไม่สามารถขึ้นไปช่วยหัวใจ และไฟหัวใจไม่สามารถลงไปหาไต สามารถเลือกจุด 复溜 จากเส้นลมปราณเท้าเส้าอินไตคือทองในปัญจธาตุทองกำเนิดน้ำ(ทองเป็นแม่ของน้ำ), “พร่องให้บำรุงแม่” , เส้นลมปราณมือเส้าอินหัวใจมี 输穴 คือจุดเสินเหมิน (神门)คือดินในปัญจธาตุเป็นลูกของไฟ, “แกร่งระบายที่ลูก

02 ม้ามและกระเพาะไม่สมดุล

ให้เลือกจุดจงหว่าน (中脘) เป็น 墓穴 ของกระเพาะอาหาร腑之会, ม้ามและกระเพาะอาหารคือบานพับเปิดปิดการกระจายของเลือกและลมปราณ มีความสามารถคือ ทำให้กลไกของลมปราณ (การเคลื่อนที่ของลมปราณ) ไหลสะดวก และบำรุง 中焦

天枢 คือ 墓穴 ของลำไส้ใหญ่, “บานพับคือสิ่งเปรียบเปรยอยู่ตรงกลางการขึ้นลงของออกนอกและเข้าใน คือ เทียนซู 天枢 (บานพับฟ้า)” ของการเคลื่อนที่ของลมปราณหยางและลมปราณอินสามารถบำรุงม้ามและกระเพาะ ทำให้บนและล่างติดต่อกันจู๋ซานหลี่ (足三里) เป็น 合穴 ของเส้นลมปราณกระเพาะและยังเป็น 下合穴 ของกระเพาะ หลิงซู ซุ่นลี่อี๋รื่อเฟินเหวยซื่อสือ: “โรคอยู่ที่กระเพาะทำให้เป็นโรคที่การกินผิดปกติให้เลือก 合穴

 03 เส้นลมปราณอินเฉียว และเส้นลมปราณหยางเฉียว สูญเสียความสามารถในการเปิด-ปิด (阴阳跷脉失开合)

     หยางเฉียวม่าย (阳跷脉) คือเส้นที่แยกออกมาจากเส้นลมปราณเท้าไท่หยางกระเพาะปัสสาวะ,อินเฉียวม่าย (阴跷脉) คือเส้นที่แยกออกมาจากเส้นลมปราณเท้าเส้าอินไต精明穴 คือจุดที่เส้นลมปราณมือเท้าไท่หยางเท้าหยางหมิง阴阳跷脉 มาเจอกัน (交会穴) , 照海 คือจุดบนเส้นลมปราณเท้าเส้าอิน八脉交会穴ลากผ่าน 阴跷脉ทำให้สามารถเลือกจุดจิงหมิง (精明穴) และ 照海穴 เพื่อปรับสมดุลอินหยางได้

     ในยามรุ่งสาง เมื่อลมปราณหยางค่อย ๆ กำเนิดขึ้นมา สามารถกดและคลึงจุดจิงหมิง (精明穴) ให้ตื่นและรู้สึกสดชื่น กระตุ้นให้ลมปราณหยางกำเนิดขึ้นไปตามธรรมชาติ มีทั้งเคลื่อนไหวขึ้นลงออกนอกและเข้าด้านใน มีการเปิดออกจึงจะมีการปิด และจุดจ้าวไห่ (照海) สามารถช่วยคุณสมบัติของไตในทางแพทย์แผนจีน คือการทำให้น้ำในร่างกายระเหยขึ้นไปสู่ด้านบน(คล้ายกับการนึ่ง) เพื่อให้ไอน้ำไปควบคุมไฟของหัวใจให้สมดุล เมื่อไฟและน้ำมีการประสานกันอย่างดี ทำให้หยางสามารถเคลื่อนเข้าไปสู่อินได้ ดวงตาของมนุษย์จึงสามารถปิดลง ทำให้นอนหลับลงได้

 นอกจากนี้โรคทุกชนิดที่เกิดขึ้นล้วนมีสาเหตุ เพียงแค่ว่าในหลาย ๆ ครั้ง เรากลับไม่สามารถสืบหาสาเหตุได้ อีกอย่างหนึ่งก็คือ โรคที่แสดงออกมาทางกายภาพ มักจะเป็นผลสะท้อนมาจากโรคทางจิตใจภายใน

            โดยเฉพาะสำหรับโรคนอนไม่หลับแล้ว การวินิจฉัยหาสาเหตุของโรคนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรละเลยไป ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยก่อโรคภายนอก หรือปัจจัยก่อโรคภายใน เช่น การทานอาหาร สภาพทางอารมณ์ การทำงานที่หนักเกินไป หรือการอยู่นิ่งไม่ขยับตัวที่มากจนเกินไป


            จากสาเหตุต่าง ๆ ที่สามารถก่อให้เกิดโรคได้ จึงมีการให้คำแนะนำดังนี้

1. ไม่ควรทานอาหารรสเผ็ดจัด อาหารที่มีไขมันมากหรือหวานจัดจนเลี่ยน หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่

2. มีการควบคุมทางอารมณ์ที่ดี ดัวที่กล่าวว่า ความสงบ ทำจิตใจให้ว่างเปล่า ลมปราณแท้(真气)จะมาจากสิ่งนั้นจิงเสิน(精神 สติ สัมปชัญญะ ความสดชื่นแจ่มใส)จะถูกรับไปเก็บด้านในโรคจักมาจากที่ใดเล่า?” (恬淡虚无,真气从之,精神内收,病安从来ในบรรดาอารมณ์ต่าง ๆ ที่มีมากขึ้นอย่างผิดแผก สามารถใช้ดนตรีชนิดต่าง ๆ ที่เหมาะสมในการบรรเทาได้หูที่เราใช้ในการได้ยินเสียงคือเส้นลมปราณถุงน้ำดี, ไต และหัวใจ หากเราฟังดนตรีที่เหมาะสม ก็จะได้รับสรรพคุณที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของลมปราณให้ปลอดโปร่ง และสงบจิตใจได้

3. ในด้านของปัจจัยก่อโรคภายนอก ความเหน็ดเหนื่อยที่มากเกินพอดี  ก็ยังมีความเกี่ยวข้องกับความแข็งแกร่งของลมปราณเจิ้ง (正气 เจิ้งชี่ คือลมปราณที่เป็นภูมิคุ้มกันต่อโรค การฟื้นฟู รักษาสมดุลและความเสถียรในการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย) การแบ่งเวลาทำงานและพักผ่อนอย่างเหมาะสม ก็คือการผสมผสานระหว่างการขยับร่างกายและการหยุดนิ่งอย่างพอดี ทำให้อินและหยางสมดุล (阴平阳秘 อินผิงหยางมี่ หมายถึง ภาวะที่อินและหยางมีความสมดุลกัน คือการที่อินถูกกักเก็บเอาไว้และเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุด ส่วนหยางมีการปกป้องและป้องกันอยู่ที่ร่างกายส่วนนอก)

 

credit : 三才公益