บทความ

Article

การเตรียมตัวก่อน-หลังฝังเข็ม

กระบวนการรักษาโรคนั้น เป็นกระบวนการของสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย ซึ่งความสัมพันธ์นี้ไม่ควรเป็นลักษณะของ “การสั่งทำ” แพทย์และผู้ปวยควรสร้างความสัมพันธ์ในลักษณะของ “ความร่วมมือ” กันมากกว่า ผลการรักษาของโรคหนึ่ง ๆ จะดีหรือไม่อย่างไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับว่า แพทย์และผู้ป่วยจะสามารถประสานร่วมมือกันได้ดีเพียงใดอีกด้วย

วันเหมายันต์

วันเหมายันต์ (冬至节) โดยปกติจะตรงกับวันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคม ของทุกปี สำหรับปีนี้ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม 2565 วันนี้จะเป็นวันที่ช่วงกลางวันสั้นที่สุดแล้วกลางคืนยาวที่สุดในรอบปี ถือเป็นวันที่มีอากาศหนาวเย็นในซีกโลกเหนือ แล้วจะตรงข้ามกับประเทศทางซีกโลกใต้

ทุยหนา

การนวดทุยหนา เชื่อว่าเป็นศาสตร์แรกของการใช้วิธีนวดหรือกดบนตำแหน่งต่างๆ ของร่างกาย (Bodywork) ปรากฏในประวัติศาสตร์มายาวนานกว่า 5,000 ปี ได้รับการบันทึกในคัมภีร์ซูเวิ่น และมีการพัฒนามาเรื่อยๆ จากประสบการณ์ของคนยุคก่อน จนมาเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติในปัจจุบัน

การรมยา

คือการรักษาโรคด้วยการเผาสมุนไพรโกศจุฬาลัมพาแล้วนำมารมบริเวณจุดฝังเข็มตามตำแหน่งของเส้นลมปราณ การรมยาสามารถปรับสมดุลพลังชี่และเลือด อบอุ่นขับเคลื่อนเส้นลมปราณ ขจัดพิษภายในร่างกาย กระตุ้นการไหลเวียนและพลังเส้นลมปราณ รวมไปถึงช่วยในเรื่องความงาม และการดูแลสุขภาพอีกด้วย

การดูแลสุขภาพในช่วงตรุษจีน

นอกจากการไหว้เจ้าช่วงเทศกาลตรุษจีนแล้ว การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในช่วงวันปีใหม่ของคนไทยเชื้อสายจีน ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม ประจวบเหมาะกับมีคำเตือน เรื่องการจุดกระดาษและธูปเทียน ที่อาจก่อให้เกิดมลพิษและปัญหาสุขภาพ ในช่วงฝุ่นควันพิษคลุ้งเมืองและปริมณฑล

รักษาภูมิแพ้อากาศ ด้วยแพทย์แผนจีน

ฝุ่น PM 2.5 จะส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจก่อให้เกิด โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ภูมิแพ้ ถุงลมโป่งพอง หอบหืด และอาจทำให้การทำงานของปอดเสื่อมลง และยังเสี่ยงต่อมะเร็งปอดอีกด้วย

Long Covid

ภาวะลองโควิด (Long COVID) ภาวะแทรกซ้อนหลังติดเชื้อโควิด ผู้ที่ติดเชื้อโควิดมา เมื่อเชื้อหายแล้ว มักจะมีอาการหลงเหลือตามมา หรือมีอาการใหม่ที่เกิดขึ้นหลังเชื้อหาย 4 ถึง 12 สัปดาห์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาการลองโควิด

กดจุดรักษา Office Syndrome

จุดกดจุดสำหรับ "ชาวออฟฟิศซินโดรม"

สีผิวหลัง"ครอบแก้ว" บอกถึงอะไร?

การครอบแก้วเป็นการรักษาอีกวิธีหนึ่งของแพทย์แผนจีน โดยในสมัยโบราณจะใช้เขาสัตว์หรือกระบอกไม้ไผ่ แต่ปัจจุบันวัสดุที่ใช้จะเป็นแก้วใสทรงกลม จุดไฟแล้วนำเปลวไฟเข้าไปในแก้วทรงกลมเพื่อให้เกิดสูญญากาศภายในแก้ว แล้วจึงนำมาวางครอบบริเวณต่างๆ บนร่างกาย การที่ผิวหนัง ถูกดูดด้วยแก้วที่เป็นสูญญากาศจะทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือดบริเวณนั้นอย่างมาก เป็นการปั๊มเลือดเข้าสู่ กล้ามเนื้อบริเวณที่ทำการครอบเเก้ว หลอดเลือดฝอยขยายตัวขึ้น นำมาสู่การที่เนื้อเยื่อได้รับเลือดออกซิเจน มากขึ้น สีหลังจากที่ครอบแก้วจะสามารถบอกถึงสุขภาพภายในของคุณได้

ฤดูลี่ชุน

ฤดูที่1 : ”ลี่ชุ่น” 立春 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูอวี๋สุ่ย

ฤดูที่2 : ”อวี๋สุ่ย” 雨水 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูจิงเจ๋อ

ฤดูที่3 : ”จิงเจ๋อ” 惊蛰 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูชุนเฟิน

ฤดูที่4 : ”ชุนเฟิน” 春分 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูชิงหมิง

ฤดูที่5 : ”ชิงหมิง” 清明 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูกู๋อวี่

ฤดูที่6 : "กู๋อวี่" 谷雨 (24ฤดูกาลจีน)

ฤดูลี่เซี่ย

ฤดูที่7 : "ลี่เซี่ย" 立夏 (24ฤดูกาลจีน)

"นอนไม่หลับ" ทางการแพทย์แผนจีน 1

โรคนอนไม่หลับ หมายถึงโรคที่ไม่สามารถนอนหลับได้ตามปกติอย่างบ่อยครั้ง ในทางการแพทย์แผนจีน เรียกอีกอย่างว่า "นอนไม่หลับ"(不寐 ปู๋เม่ย) "นอนไม่ได้"(不得卧 ปู้เต๋อว่อ) "ตาไม่ปิด"(目不瞑 เหยี่ยนปู้หมิง) เป็นต้น

"นอนไม่หลับ" ทางการแพทย์แผนจีน 2

จากบทความที่แล้ว เราได้แบ่งโรคนอนไม่หลับแบบเป็น 3 ประเภท : 1. หัวใจและไตไม่สอดคล้องกัน 2. ม้ามและกระเพาะไม่สมดุล 3. เส้นลมปราณอินเฉียว และเส้นลมปราณหยางเฉียว สูญเสียความสามารถในการเปิด-ปิด บทความนี้จะอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาอาการนอนไม่หลับที่เกี่ยวข้องต่อไป

ยาจีนบรรเทาอาการนอนไม่หลับ

สมุนไพรจีนทั้งห้าชนิด ที่สามารถนำมารับประทานหรือชงเป็นน้ำชา ต้มเป็นน้ำซุปดื่ม เพื่อบรรเทาอาการนอนไม่หลับ และทำให้คุณภาพการนอนหลับดีขึ้น ทั้งนี้ หากนำสมุนไพรมาผสมชงเป็นน้ำชา หรือต้มน้ำซุปดื่ม ควรเว้นระยะการดื่มก่อนนอนอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันไม่ให้รู้สึกปวดปัสสาวะจนตื่นขึ้นมากลางดึกได้

การดูแลเด็กทารกตามแนวทางของการแพทย์แผนจีน

ซุนซือเหมี่ยว แพทย์แผนจีนสมัยราชวงศ์ถัง ได้เขียนตำรา 《เชียนจินเย่าฟาง》เพื่อสื่อออกมาให้เห็นได้อย่างชัดเจนเลยว่า “จะต้องดูแลเอาใจใส่เด็ก เพื่อที่เขาจะได้เติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่สุขภาพดีและมีคุณภาพ”

ทำไม "ผู้หญิง" ต้องนอนดี ?

มนุษย์สุขภาพดี ในเพศหญิง จะต้องมีคุณภาพในการนอนหลับที่ดี ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการบำรุงตับ ดังนั้น “จุดเริ่มต้น” ของแนวคิด "ผู้หญิงจะต้องนอนดี" คือ “การบำรุงตับ” เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพร่างกายของเพษหญิง

ระยะหลังคลอด ทางการแพทย์แผนจีน

“ระยะหลังคลอด” หมายถึง ระยะเวลาในการปรับตัวและฟื้นตัวของร่างกายมารดา, อวัยวะสืบพันธุ์ และสุขภาพจิตหลังการคลอดของทารกในครรภ์และรก ซึ่งจะกินเวลาประมาณ 6-8 สัปดาห์ (42-56 วัน) การดูแลที่มีคุณภาพจะสามารถส่งผลดีต่อสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ รวมถึงการป้องกันโรคต่าง ๆ หลังคลอดของคุณแม่ได้อย่างดีในระยะยาว

อาหารหลังคลอด ทางการแพทย์แผนจีน

ในมุมมองของแพทย์แผนจีน สตรีหลังคลอดจะมีภาวะ “ลมปราณและเลือดพร่องอย่างรุนแรง” จากการมีเลือดออกและความเหนื่อยล้า ดังนั้นจึงมีหลักการทานอาหารที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายในช่วงนี้ด้วยเช่นกัน

อารมณ์หลังคลอด

ผลการวิจับพบว่า 10%-30% ของคุณแม่หลังคลอดมักจะมีปัญหาดังกล่าว ซึ่งหมายถึงอาการความเครียด วิตกกังวล ความเศร้า โกรธง่าย หงุดหงิดง่าย ไปจนถึงเป็นโรคทางจิตเวช กระทั่งอาจร้ายแรงจนเกิดความสูญเสียในชีวิต ดังนั้น สุขภาพทางอารมณ์ของหญิงตั้งครรภ์และคุณแม่หลังคลอดจึงต้องได้รับความดูแลเอาใจใส่จากทุกคน

ผลเสียจากการนอนดึก คุณทราบมากแค่ไหน?

《หลิงซู》กล่าวว่า “ลมปราณเว่ย(卫气), กลางวันเดินทางในหยาง, กลางคืนเดินทางในอิน, ดังนั้น หากลมปราณหยางหยุดลงจะทำให้หลับ, หากลมปราณอินหยุดลงจะทำให้ตื่น” หากนอนดึก การทำงานของลมปราณเว่ยจะผิดปกติ แสดงอาการออกมาเป็นกลุ่มอาการอินพร่อง (สารอินในร่างกายบกพร่องลงกว่าที่ควรจะเป็น) เช่น ปากและลิ้นแห้ง คอแห้ง กระหายน้ำ รู้สึกร้อนรุ่ม หงุดหงิดง่าย